ใช้เขียนในกรณีที่เด็กได้รับบาดเจ็บที่โรงเรียน・สถานรับเลี้ยงและได้รับการติดต่อมาจากคุณครูเมื่อวันก่อน โดยจะเขียนบอกถึงท่าทีหลังจากนั้น

ถึงแม้จะเป็นกรณีที่คิดว่าเป็นความรับผิดชอบของคุณครูหรือโรงเรียน・สถานรับเลี้ยงก็ไม่ควรเขียนเรื่องนั้นลงในสมุดเร็นระขุโจ ให้โทรศัพท์หรือไปคุยโดยตรง ในกรณีที่เป็นเช่นนั้น ก่อนอื่นให้ใจเย็น แล้วลองไปสอบถามให้แน่ใจถึงเหตุการณ์ว่าเป็นมาอย่างไร ถ้าหากไปตำหนิด้วยน้ำเสียงที่แข็งกร้าว ว่าคุณครูจะต้องขอโทษ แล้วหลังจากนั้นอาจจะมีความกังวลขึ้นมาว่า "ถ้าความสัมพันธ์กับทางโรงเรียนหรือคุณครูเกิดไม่ราบรื่นขึ้นมาละทำยังไงดี..." "ถ้าส่งผลถึงเด็กแล้วจะทำยังไงดี..." ก็เป็นได้ ดังนั้นจึงไม่ใช่ทางที่ดี ลองเล่าให้ครอบครัว เพื่อน หรือเพื่อนผู้ปกครองฟัง หรือขอให้เขาเป็นที่ปรึกษาให้ดู

นอกจากนี้ ไม่ควรไปคัดค้านเด็กหรือพ่อแม่ฝ่ายตรงข้ามโดยตรง โดยปกติคุณครูจะเป็นฝ่ายคอยให้คำแนะนำเด็กอีกฝ่าย หรือบอกทางพ่อแม่ให้ตามที่เห็นสมควรอยู่แล้ว

ถ้าหากเกิดเรื่องเดิมขึ้นซ้ำๆหลายครั้ง ให้ปรึกษาคนที่มีสถานภาพสูงกว่า อย่างเช่น ผู้ที่รับผิดชอบหรืออาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน โดยลองหาสถานที่พูดคุยกันในวันอื่นดู

ตัวอย่างการเขียน


おはようございます。
きのうは、お電話(でんわ)ありがとうございました。(あし)(ほう)は、(とく)異常(いじょう)はないようです。
よろしくお(ねが)いします。
佐藤(さとう)
おはようございます。
きのうは、お電話ありがとうございました。足の方は、特に異常はないようです。
よろしくお願いします。
佐藤

ลำดับการเขียนและสำนวน

คำทักทาย


おはようございます。
おはようございます。

คำขอบคุณเมื่อได้รับโทรศัพท์


きのうは、お電話でんわありがとうございました。
きのうは、お電話ありがとうございました。

สภาพร่างกาย


あしほうは、とく異常いじょうはないようです。
足の方は、特に異常はないようです。

うでは、もうあまりいたくないみたいです。
うでは、もうあまり痛くないみたいです。

คำลงท้าย


よろしくおねがいします。
よろしくお願いします。

ลงชื่อ


佐藤さとう
佐藤



รายงานสภาพร่างกาย