ใช้เขียนในกรณีที่เด็กเกิดบาดเจ็บที่โรงเรียน・สถานรับเลี้ยงและได้รับการติดต่อมาจากอาจารย์เมื่อวันก่อน แล้วจะบอกถึงอาการหลังจากนั้น

ถึงแม้จะเป็นกรณีที่คิดว่าเป็นความรับผิดชอบของคุณครูหรือโรงเรียน・สถานรับเลี้ยงก็ไม่ควรเขียนเรื่องนั้นลงในสมุดเร็นระขุโจ ให้โทรศัพท์หรือไปคุยโดยตรง ในกรณีที่เป็นเช่นนั้น ก่อนอื่นให้ใจเย็น แล้วลองไปสอบถามให้แน่ใจถึงเหตุการณ์ว่าเป็นมาอย่างไร ถ้าหากไปตำหนิด้วยน้ำเสียงที่แข็งกร้าว ว่าคุณครูจะต้องขอโทษ แล้วหลังจากนั้นอาจจะมีความกังวลขึ้นมาว่า "ถ้าความสัมพันธ์กับทางโรงเรียนหรือคุณครูเกิดไม่ราบรื่นขึ้นมาละทำยังไงดี..." "ถ้าส่งผลถึงเด็กแล้วจะทำยังไงดี..." ก็เป็นได้ ดังนั้นจึงไม่ใช่ทางที่ดี ลองเล่าให้ครอบครัว เพื่อน หรือเพื่อนผู้ปกครองฟัง หรือขอให้เขาเป็นที่ปรึกษาให้ดู

นอกจากนี้ ไม่ควรไปคัดค้านเด็กหรือพ่อแม่ฝ่ายตรงข้ามโดยตรง โดยปกติคุณครูจะเป็นฝ่ายคอยให้คำแนะนำเด็กอีกฝ่าย หรือบอกทางพ่อแม่ให้ตามที่เห็นสมควรอยู่แล้ว

ถ้าหากเกิดเรื่องเดิมขึ้นซ้ำๆหลายครั้ง ให้ปรึกษาคนที่มีสถานภาพสูงกว่า อย่างเช่น ผู้ที่รับผิดชอบหรืออาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน โดยลองหาสถานที่พูดคุยกันในวันอื่นดู

ตัวอย่างการเขียน


おはようございます。
きのうはお世話(せわ)になりました。(うご)かすとまだ(すこ)(いた)いようです。
よろしくお(ねが)いします。
佐藤(さとう)
おはようございます。
きのうはお世話になりました。動かすとまだ少し痛いようです。
よろしくお願いします。
佐藤

ลำดับการเขียนและสำนวน

คำทักทาย


おはようございます。
おはようございます。

คำขอบคุณ


きのうはお世話せわになりました。
きのうはお世話になりました。

สภาพร่างกาย


うごかすとまだすこいたいようです。
動かすとまだ少し痛いようです。

今朝けさいたみもなくなって、元気げんきです。
今朝は痛みもなくなって、元気です。

คำลงท้าย


よろしくおねがいします。
よろしくお願いします。

ลงชื่อ


佐藤さとう
佐藤



รายงานสภาพร่างกาย